สรุปการลงพื้นที่ ร่วมพัฒนา เกาะเต่า
เกาะเต่า
ระหว่างวันที่11ถึง13ตุลาคม พุทธศักราช2554
เพื่อร่วมพิจารณาองค์ประกอบในการจัดสร้าง"ศูนย์การเรียนรู้เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการป้องกันภัยพิบัติ"
เพื่อร่วมพิจารณาองค์ประกอบในการจัดสร้าง"ศูนย์การเรียนรู้เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการป้องกันภัยพิบัติ"
ข้อมูลเบื้องต้น
เกาะเต่า ตั้งอยู่ในเขต อำเภอเกาะพะงัน
จังหวัด สุราษฎร์ธานี
เกาะเต่า ตั้งอยู่ในเขต อำเภอเกาะพะงัน
จังหวัด สุราษฎร์ธานี
ประกอบด้วย
1ตำบล 3ชุมชน
ประชากร ราว1,700คน
ประชากร(แฝง) ราว10,000คน
1ตำบล 3ชุมชน
ประชากร ราว1,700คน
ประชากร(แฝง) ราว10,000คน
อาชีพหลัก
ประมงและค้าขาย
ไม้ผลหลัก
มะพร้าว เป็นต้น
ประมงและค้าขาย
ไม้ผลหลัก
มะพร้าว เป็นต้น
สถาบันการศึกษาหลัก
โรงเรียนบ้านเกาะเต่า
เปิดสอนในระดับอนุบาล1ถึง ม.3
โรงเรียนบ้านเกาะเต่า
เปิดสอนในระดับอนุบาล1ถึง ม.3
ถนน ส่วนมากเป็นทางลาด ชัน
ไม่สะดวกต่อการคมนาคมมากนัก
ไม่สะดวกต่อการคมนาคมมากนัก
สถานที่ท่องเที่ยวหลัก
หาดทรายรี หาด จ.ป.ร.
หาดทรายรี หาด จ.ป.ร.
จำนวนนักท่องเที่ยว ต่อปี
3ถึง4แสนคน
3ถึง4แสนคน
เจตนาด้านการพัฒนาของเกาะ
เพื่อพลักดันให้ประชากรบนเกาะหันมาร่วมมือกันอย่างจริงจัง ในการ
วางแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งมีชีวิตบนเกาะในรูปแบบที่ยั่งยืน ให้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่สามารถกลมกลืนไปในทางเดียวกันกับสิ่งปลูกสร้างที่จะต้องไม่ทำลายภาพลักษณ์ของธรรมชาติและจะต้องเน้นการใช้วัสดุธรรมชาติเท่าที่จำเป็น ซึ่งประชากรบนเกาะจะต้องนำแนวทางดังกล่าวที่จะเกิดขึ้นไปใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง
เพื่อพลักดันให้ประชากรบนเกาะหันมาร่วมมือกันอย่างจริงจัง ในการ
วางแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งมีชีวิตบนเกาะในรูปแบบที่ยั่งยืน ให้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่สามารถกลมกลืนไปในทางเดียวกันกับสิ่งปลูกสร้างที่จะต้องไม่ทำลายภาพลักษณ์ของธรรมชาติและจะต้องเน้นการใช้วัสดุธรรมชาติเท่าที่จำเป็น ซึ่งประชากรบนเกาะจะต้องนำแนวทางดังกล่าวที่จะเกิดขึ้นไปใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง
ปัญหาและอุปสรรค
ที่ทางการเกาะไม่สามารถดำเนินการได้ด้วยตนเองอย่างเต็มที่
คือ
1การเข้ามามีอิทธิพลมากขึ้นของนักลงทุนนอกพื้นที่ อันเป็นเหตุให้ประชากรบนเกาะขาดพื้นที่ในการประกอบอาชีพ
2สิ่งปลูกสร้างทางธุระกิจเป็นจำนวนมาก ที่ไม่คำนึงถึงการดูแลรักษาธรรมชาติ
3ขาดความร่วมมือจากประชากรบนเกาะ
ด้วยเหตุของการประชาสัมพันธ์ด้านการอนุรักษ์ที่ยังไม่ทั่วถึง
4ขาดดุลทางงบประมาณที่ยังเพียงพอ
5ยังไม่ความชัดเจนของเนื้อหา แนวทาง ขั้นตอน ระบบการอนุรักษ์ที่เป็นรูปธรรม
6ยังขาดหน่วยงาน องค์กร ที่จะมาร่วมให้การสนับสนุน
ประโยชน์และแนวทางเบื้องต้นของการเกิดขึ้นของศูนย์การเรียนรู้ฯ
1สร้างความสมัครสมานสามัคคีแก่องค์กรต่างๆทั่วประเทศที่เข้ามาร่วมมือ
2ศูนย์การเรียนรู้ฯจะมิใช่ของหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง หากแต่เป็นของทุกองค์กรที่จะเข้ามาร่วมเป็นเจ้าภาพดำเนินการ
3สามารถเป็นศูนการเรียนรู้ฯแบบผสมผสานที่ครอบคลุมในทุกองค์ความรู้ได้ ตามความร่วมมือขององค์กรต่างๆ
4ปลูกฝังและเพิ่มจิตใต้สำนึกแก่เยาวชน บุคคลทั่วไปทุกระดับ ให้เล็งเห็นถึง "คุณค่าของธรรมชาติ"
ลึกซึ่งกระจ่างถึงกฏของธรรมชาติ
5การร่วมตัวขององค์กรต่างๆเพื่อจัดสร้างศูนย์การเรียนรู้ฯครั้งนี้ ย่อมเสมือนเป็นการวิจัย ค้นหาคำตอบในเรื่องกระบวนการ การจัด การเรียนรู้ การเรียน การสอนในรูปแบบใหม่
6เป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ที่มิได้มีแต่ความสวยงาม แต่ยังแฝงด้วยเนื้อหาองค์ความรู้ ที่ผู้ศึกษาจะไดัรับอย่างเต็มที่
7เปิดประตูสู่เรื่องราวและคำตอบของการนำเสนอที่มาของการเกิดขึ้นของภัยพิบัติทางธรรมชาติและวิธีการป้องกันรูปแบบต่างๆที่ทั่วโลกมี
ซึ่งอาจเป็นแรงบันดาลใจที่ทำให้ผู้ศึกษาค้นพบแนวทางใหม่ๆในการป้องกัน
พื้นที่ดิน แรกเริ่มในการจัดสร้าง
จำนวน3ไร่
ที่ทางการเกาะไม่สามารถดำเนินการได้ด้วยตนเองอย่างเต็มที่
คือ
1การเข้ามามีอิทธิพลมากขึ้นของนักลงทุนนอกพื้นที่ อันเป็นเหตุให้ประชากรบนเกาะขาดพื้นที่ในการประกอบอาชีพ
2สิ่งปลูกสร้างทางธุระกิจเป็นจำนวนมาก ที่ไม่คำนึงถึงการดูแลรักษาธรรมชาติ
3ขาดความร่วมมือจากประชากรบนเกาะ
ด้วยเหตุของการประชาสัมพันธ์ด้านการอนุรักษ์ที่ยังไม่ทั่วถึง
4ขาดดุลทางงบประมาณที่ยังเพียงพอ
5ยังไม่ความชัดเจนของเนื้อหา แนวทาง ขั้นตอน ระบบการอนุรักษ์ที่เป็นรูปธรรม
6ยังขาดหน่วยงาน องค์กร ที่จะมาร่วมให้การสนับสนุน
ประโยชน์และแนวทางเบื้องต้นของการเกิดขึ้นของศูนย์การเรียนรู้ฯ
1สร้างความสมัครสมานสามัคคีแก่องค์กรต่างๆทั่วประเทศที่เข้ามาร่วมมือ
2ศูนย์การเรียนรู้ฯจะมิใช่ของหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง หากแต่เป็นของทุกองค์กรที่จะเข้ามาร่วมเป็นเจ้าภาพดำเนินการ
3สามารถเป็นศูนการเรียนรู้ฯแบบผสมผสานที่ครอบคลุมในทุกองค์ความรู้ได้ ตามความร่วมมือขององค์กรต่างๆ
4ปลูกฝังและเพิ่มจิตใต้สำนึกแก่เยาวชน บุคคลทั่วไปทุกระดับ ให้เล็งเห็นถึง "คุณค่าของธรรมชาติ"
ลึกซึ่งกระจ่างถึงกฏของธรรมชาติ
5การร่วมตัวขององค์กรต่างๆเพื่อจัดสร้างศูนย์การเรียนรู้ฯครั้งนี้ ย่อมเสมือนเป็นการวิจัย ค้นหาคำตอบในเรื่องกระบวนการ การจัด การเรียนรู้ การเรียน การสอนในรูปแบบใหม่
6เป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ที่มิได้มีแต่ความสวยงาม แต่ยังแฝงด้วยเนื้อหาองค์ความรู้ ที่ผู้ศึกษาจะไดัรับอย่างเต็มที่
7เปิดประตูสู่เรื่องราวและคำตอบของการนำเสนอที่มาของการเกิดขึ้นของภัยพิบัติทางธรรมชาติและวิธีการป้องกันรูปแบบต่างๆที่ทั่วโลกมี
ซึ่งอาจเป็นแรงบันดาลใจที่ทำให้ผู้ศึกษาค้นพบแนวทางใหม่ๆในการป้องกัน
พื้นที่ดิน แรกเริ่มในการจัดสร้าง
จำนวน3ไร่
(ข้อเสนอ ของโครงการสดุดีเจ้าฟ้าเพื่อเทิดพระเกียรติ)
1จัดแสดงนิทรรศการถาวร เพื่อการนำเสนอเรื่องราวประวัติความเป็นมาของเกาะเต่า ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ
2ต่อมาคือ นิทรรศการแสดงรูปลักษณ์ทางภูมิศาสตร์ แผนที่ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งมีชีวิตบนเกาะ,ชายฝั่ง
3นิทรรศการนำเสนอแหล่งท่องเที่ยวบนเกาะ โดยเชื่อมโยงเนื้อหาไปยังแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆในประเทศ
4จัดแสดงเนื้อหากล่าวถึงปัญหาการทำลายทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้นบนเกาะและแนวทางการพัฒนา แสดงภาพพจน์เปรียบเทียบวิถีชีวิตบนเกาะในอดีตและปัจจุบัน
5จัดแสดงนิทรรศการ การเกิดขึ้นของภัยธรรมชาติที่เกาะประสบ รวมทั้งนำเสนอ ภัยพิบัติต่างๆที่เกิดขึ้นในประเทศและแสดงผลกระทบ การสูญเสียที่ได้รับ ที่ผ่านมา
6จัดแสดงรูปแบบการป้องกันภัยธรรมชาติ ที่รวบรวมเนื้อหามาจากทั่วทุกมุมโลก
7นิทรรศการแสดงความเป็นมา
เหตุผลของการเกิดสภาวะโลกร้อน
8การจัดนิทรรศการเพื่อนำเสนอองค์ความรู้ด้านอื่นๆ
9จัดให้มีพื้นที่ส่วนของการจัดกิจกรรมทดสอบร่างกาย แสดงความสามารถ โดยสอดแทรกข้อคิดที่เป็นประโยชน์และเพื่อทบทวนเนื้อหาความรู้ที่ได้รับ
10จัดให้เป็นพื้นที่ส่วนที่สามารถรองรับการจัดกิจกรรมเข้าค่ายพักแรม
แก่หน่วยงานต่างๆที่จะเข้าขอใช้พื้นที่
11สนับสนุนให้ชุมชนนำเอาวิถีชีวิตออกมานำเสนอแลกเปลี่ยนแก่นักท่องเที่ยว ผู้เข้าชม
ซึ่งอาจส่งเสริมให้เป็นวิถีชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง หรือพลักดันให้เกิดสินค้าทางภูมิปัญญาใหม่ๆ เพื่อสร้างรายได้
12กำหนดให้มีจุดติดตั้งแผงดูดซับพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตไฟฟ้า
และหาแนวทางการผลิตน้ำจืด
เพื่อเป็นศูนย์ฯต้นแบบการอนุรักษ์และพัฒนา
13สนับสนุนแนวทางการกำจัดขยะที่มีอยู่บนเกาะ และเพิ่มแนวคิดการดัดแปลงขยะเป็นประโยชน์
14พลักดันวางแนวทาง ขอความร่วมมือ รณรงค์ให้มีการจัดสร้างสิ่งก่อสร้างที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมธรรมชาติเป็นจำนวนมาก
1จัดแสดงนิทรรศการถาวร เพื่อการนำเสนอเรื่องราวประวัติความเป็นมาของเกาะเต่า ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ
2ต่อมาคือ นิทรรศการแสดงรูปลักษณ์ทางภูมิศาสตร์ แผนที่ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งมีชีวิตบนเกาะ,ชายฝั่ง
3นิทรรศการนำเสนอแหล่งท่องเที่ยวบนเกาะ โดยเชื่อมโยงเนื้อหาไปยังแหล่งท่องเที่ยวอื่นๆในประเทศ
4จัดแสดงเนื้อหากล่าวถึงปัญหาการทำลายทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้นบนเกาะและแนวทางการพัฒนา แสดงภาพพจน์เปรียบเทียบวิถีชีวิตบนเกาะในอดีตและปัจจุบัน
5จัดแสดงนิทรรศการ การเกิดขึ้นของภัยธรรมชาติที่เกาะประสบ รวมทั้งนำเสนอ ภัยพิบัติต่างๆที่เกิดขึ้นในประเทศและแสดงผลกระทบ การสูญเสียที่ได้รับ ที่ผ่านมา
6จัดแสดงรูปแบบการป้องกันภัยธรรมชาติ ที่รวบรวมเนื้อหามาจากทั่วทุกมุมโลก
7นิทรรศการแสดงความเป็นมา
เหตุผลของการเกิดสภาวะโลกร้อน
8การจัดนิทรรศการเพื่อนำเสนอองค์ความรู้ด้านอื่นๆ
9จัดให้มีพื้นที่ส่วนของการจัดกิจกรรมทดสอบร่างกาย แสดงความสามารถ โดยสอดแทรกข้อคิดที่เป็นประโยชน์และเพื่อทบทวนเนื้อหาความรู้ที่ได้รับ
10จัดให้เป็นพื้นที่ส่วนที่สามารถรองรับการจัดกิจกรรมเข้าค่ายพักแรม
แก่หน่วยงานต่างๆที่จะเข้าขอใช้พื้นที่
11สนับสนุนให้ชุมชนนำเอาวิถีชีวิตออกมานำเสนอแลกเปลี่ยนแก่นักท่องเที่ยว ผู้เข้าชม
ซึ่งอาจส่งเสริมให้เป็นวิถีชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง หรือพลักดันให้เกิดสินค้าทางภูมิปัญญาใหม่ๆ เพื่อสร้างรายได้
12กำหนดให้มีจุดติดตั้งแผงดูดซับพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตไฟฟ้า
และหาแนวทางการผลิตน้ำจืด
เพื่อเป็นศูนย์ฯต้นแบบการอนุรักษ์และพัฒนา
13สนับสนุนแนวทางการกำจัดขยะที่มีอยู่บนเกาะ และเพิ่มแนวคิดการดัดแปลงขยะเป็นประโยชน์
14พลักดันวางแนวทาง ขอความร่วมมือ รณรงค์ให้มีการจัดสร้างสิ่งก่อสร้างที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมธรรมชาติเป็นจำนวนมาก
รายนามคณะผู้ลงพื้นที่
1 พลโท วิวัฒน์ วิสนุวิมล
2 นายอินทรีย์เมฆา จงอวยพร
ประธานโครงการสดุดีเจ้าฟ้าเพื่อเทิดพระเกียรติ
3 นางยุพิน นิทจำนงค์
รองผู้อำนวยการโรงเรียน บ้านห้วยปราบ
4 นางสาวปรีดาภรณ์ ต้นสุวรรณ์
ผู้เเทน โรงเรียนบ้านสามแยกน้ำเป็น
5 นางอนุกูล
6 นางสาววิภาพร ตองแก้ว
ฝ่ายทางการเกาะ
1นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะเต่า
2นายไชยันต์ ธุระสกุล
รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะเต่า
3นางสาววารันดาว วงษ์เจริญ
และผู้เกี่ยวข้อง


1 พลโท วิวัฒน์ วิสนุวิมล
2 นายอินทรีย์เมฆา จงอวยพร
ประธานโครงการสดุดีเจ้าฟ้าเพื่อเทิดพระเกียรติ
3 นางยุพิน นิทจำนงค์
รองผู้อำนวยการโรงเรียน บ้านห้วยปราบ
4 นางสาวปรีดาภรณ์ ต้นสุวรรณ์
ผู้เเทน โรงเรียนบ้านสามแยกน้ำเป็น
5 นางอนุกูล
6 นางสาววิภาพร ตองแก้ว
ฝ่ายทางการเกาะ
1นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะเต่า
2นายไชยันต์ ธุระสกุล
รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะเต่า
3นางสาววารันดาว วงษ์เจริญ
และผู้เกี่ยวข้อง
(จากภาพ ประทับตรา สมเด็จพระปิ่นเกล้าฯ
ด้วย หม่อมราชวงศ์จันท์เพ็ญ กาญจนะวิชัย
เเละพลโทวิวัฒน์ วิสนุวิมล ผู้ก่อตั้งมูลนิธิพระปิ่นเกล้าฯ
ได้ตราประทับเป็นที่ระลึกเเก่ทางการเกาะเต่า)
ข้อเสนอด้านแผนภูมิการจัดวาง(เกาะเต่า)
ข้อเสนอชิ้นนี้ได้กระทำการกำหนดขึ้นเมื่อ
วันที่ 28 พฤศจิกายน 2554
เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้แก่ท่านผู้ทรงเกียรติ(หมายถึงผู้อ่านทุกท่าน) ได้มองเห็นถึงแนวทางอันเป็นรูปธรรมในการจัดสร้างมากขึ้น
ด้วยศูนย์การเรียนรู้ที่จะเกิดขึ้นนั้น มีลักษณะรูปแบบของการจัดตั้งเพื่อถ่ายทอด และ ปลูกฝัง แนวทาง,ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ โดยมุ่งเน้นเพื่อเสริมสร้าง แรงบันดาลใจ ให้แก่ผู้สนใจศึกษา ได้สามารถประดิษฐ์ คิดค้น วิธีการ แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมกรชาติ สิ่งแวดล้อม ในประเทศและพื้นที่ของตนรูปแบบใหม่ในอนาคต ซึ่งจะกลายเป็น สาเหตุหลัก ของการป้องกันการเกิดขึ้นของภัยพิบัติทางธรรมชาติ และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง สามารถเป็นตัวช่วยในการชะลอความรุนแรงของสภาพ สภาวะโลกร้อน
วันที่ 28 พฤศจิกายน 2554
เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้แก่ท่านผู้ทรงเกียรติ(หมายถึงผู้อ่านทุกท่าน) ได้มองเห็นถึงแนวทางอันเป็นรูปธรรมในการจัดสร้างมากขึ้น
ด้วยศูนย์การเรียนรู้ที่จะเกิดขึ้นนั้น มีลักษณะรูปแบบของการจัดตั้งเพื่อถ่ายทอด และ ปลูกฝัง แนวทาง,ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ โดยมุ่งเน้นเพื่อเสริมสร้าง แรงบันดาลใจ ให้แก่ผู้สนใจศึกษา ได้สามารถประดิษฐ์ คิดค้น วิธีการ แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมกรชาติ สิ่งแวดล้อม ในประเทศและพื้นที่ของตนรูปแบบใหม่ในอนาคต ซึ่งจะกลายเป็น สาเหตุหลัก ของการป้องกันการเกิดขึ้นของภัยพิบัติทางธรรมชาติ และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง สามารถเป็นตัวช่วยในการชะลอความรุนแรงของสภาพ สภาวะโลกร้อน
ด้านแผนภูมิการจัดวางนั้น
อาจแบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ
โดยส่วนที่ 1 อาจแบ่งออกเป็น 2 ส่วนย่อย
ซึ่งใช้สำหรับการจัดสวนพฤษาศาสตร์
ส่วนที่ 1 ย่อยนี้ เน้นการจัดแสดงพันธุ์ไม้ดั่งเดิมบนเกาะ ส่วนที่ 2 ย่อย จัดแสดงพันธุ์ไม้ที่ทำประโยชน์ได้ และพันธุ์ไม้ในโครงการพระราชดำริ ซึ่งนำเข้ามาจากนอกพื้นที่เกาะ เพื่อผสมผสานในการนำมาประยุกต์ใช้ช่วยเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ต่อระบบนิเวศน์บนเกาะ
ด้านวิธีการนำเสนอข้อมูล
โดยพื้นฐานคือจัดแสดงชื่อเรียกพันธุ์ไม้ ระบุเนื้อหาการนำมาใช้ประโยชน์ ด้านอาหาร และ ยารักษาโรค กระทั่งประโยชน์การนำมาใช้บำรุงรักษาธรรมชาติ โดยบรรยายทั้งภาษาไทย และอังกฤษ
ข้อเสนออีกนัยหนึ่ง
กำหนดให้มีพื้นที่สำหรับจัดสวนพฤษาศาสตร์เหลือเพียง 1 ส่วนเท่านั้น แต่ให้มีการจัดแสดงพันธุ์พืชแบบผสมผสานทั้งดั่งเดิมและที่นำเข้ามาจากนอกพื้นที่ ทั้งนี้จะต้องระบุจำแนกชื่อ ชนิดใดดั่งเดิมและชนิดที่นำผสมผสาน
วิธีการจัดและนำเสนอข้อมูล
เบื้องต้นให้เป็นตามที่กล่าวมาข้างต้น เพียงแต่เพิ่มเนื้อหาการเปรียบเทียบ ที่ชี้ให้เห็นถึงข้อคิด จิตใต้สำนึก สำนวน สุภาษิต โดยอาศัยการจัดแสดง การวางพันธุไม้เป็นรูปร่างเชิงศิลปะ มีองค์ประกอบต่างๆที่เชื่อมโยงความเป็นสังคม เปรียบเทียบชีวิตมนษย์กับธรรมชาติ ด้วยสำนวน สุภาษิตหรืออุดมคติ ทัศนคติ พร้อมทั้งกำหนดจุดชมวิว พักผ่อนนั่งเล่นภายใต้ธรรมชาติ
กำหนดจุดติดตั้งกังหันลม ผลิตกระแสไฟฟ้า พร้อมแสดงแนวทางการนำไปประยุกต์ใช้ในครัวเรือน ในบริเวณนั้น
ด้านอาคารการจัดแสดง
ออกแบบอาคาร เป็นอาคาร 2 ชั้น รูปเต่า หลังคาติดตั้งแผงดูดซับพลังงานแสงอาทิตย์
เสมือนกระดองเต่า ภายในแบ่งห้องจัดแสดงนิทรรศการขนาดเล็กเชื่อมต่อกัน จำนวนทั้งสิ้น 10 ห้อง
ห้องแรก กล่าวถึงความเป็นมาของเกาะเต่า เชื่อมต่อไปยังอีกห้อง
อาจแบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ
โดยส่วนที่ 1 อาจแบ่งออกเป็น 2 ส่วนย่อย
ซึ่งใช้สำหรับการจัดสวนพฤษาศาสตร์
ส่วนที่ 1 ย่อยนี้ เน้นการจัดแสดงพันธุ์ไม้ดั่งเดิมบนเกาะ ส่วนที่ 2 ย่อย จัดแสดงพันธุ์ไม้ที่ทำประโยชน์ได้ และพันธุ์ไม้ในโครงการพระราชดำริ ซึ่งนำเข้ามาจากนอกพื้นที่เกาะ เพื่อผสมผสานในการนำมาประยุกต์ใช้ช่วยเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ต่อระบบนิเวศน์บนเกาะ
ด้านวิธีการนำเสนอข้อมูล
โดยพื้นฐานคือจัดแสดงชื่อเรียกพันธุ์ไม้ ระบุเนื้อหาการนำมาใช้ประโยชน์ ด้านอาหาร และ ยารักษาโรค กระทั่งประโยชน์การนำมาใช้บำรุงรักษาธรรมชาติ โดยบรรยายทั้งภาษาไทย และอังกฤษ
ข้อเสนออีกนัยหนึ่ง
กำหนดให้มีพื้นที่สำหรับจัดสวนพฤษาศาสตร์เหลือเพียง 1 ส่วนเท่านั้น แต่ให้มีการจัดแสดงพันธุ์พืชแบบผสมผสานทั้งดั่งเดิมและที่นำเข้ามาจากนอกพื้นที่ ทั้งนี้จะต้องระบุจำแนกชื่อ ชนิดใดดั่งเดิมและชนิดที่นำผสมผสาน
วิธีการจัดและนำเสนอข้อมูล
เบื้องต้นให้เป็นตามที่กล่าวมาข้างต้น เพียงแต่เพิ่มเนื้อหาการเปรียบเทียบ ที่ชี้ให้เห็นถึงข้อคิด จิตใต้สำนึก สำนวน สุภาษิต โดยอาศัยการจัดแสดง การวางพันธุไม้เป็นรูปร่างเชิงศิลปะ มีองค์ประกอบต่างๆที่เชื่อมโยงความเป็นสังคม เปรียบเทียบชีวิตมนษย์กับธรรมชาติ ด้วยสำนวน สุภาษิตหรืออุดมคติ ทัศนคติ พร้อมทั้งกำหนดจุดชมวิว พักผ่อนนั่งเล่นภายใต้ธรรมชาติ
กำหนดจุดติดตั้งกังหันลม ผลิตกระแสไฟฟ้า พร้อมแสดงแนวทางการนำไปประยุกต์ใช้ในครัวเรือน ในบริเวณนั้น
ด้านอาคารการจัดแสดง
ออกแบบอาคาร เป็นอาคาร 2 ชั้น รูปเต่า หลังคาติดตั้งแผงดูดซับพลังงานแสงอาทิตย์
เสมือนกระดองเต่า ภายในแบ่งห้องจัดแสดงนิทรรศการขนาดเล็กเชื่อมต่อกัน จำนวนทั้งสิ้น 10 ห้อง
ห้องแรก กล่าวถึงความเป็นมาของเกาะเต่า เชื่อมต่อไปยังอีกห้อง
จัดแสดงแผนที่ ภูมิศาสตร์ รูปลักษณ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งมีชีวิตที่พบได้ทั่วไป
ห้องที่ 3 จัดแสดงแหล่งท่องเที่ยวบนเกาะเต่า และ วิถีชีวิต ภูมิปัญญา ทั้งในอดีตและปัจจุบัน
ห้องต่อมา แสดงตัวอย่างของการทำลายสิ่งแวดล้อมบนเกาะ
ห้องที่ 5 จัดแสดงเรื่องราวการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและสาเหตุของสภาวะโลกร้อน
ห้องถัดมา บรรยายเรื่องราวยกตัวอย่างภัยพิบัติทุกประเภทที่เกิดขึ้นทั่วโลก
ห้องที่ 7 ยกตัวอย่างการป้องกันภัยพิบัติของทั่วโลก และแนวทางการรักษาฟื้นฟูสภาพแวดล้อม ธรรมชาติ
ห้องที่ 8 ยกตัวอย่างสถานที่สิ่งปลูกสร้าง ที่อยู่อาศัยที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมบนเกาะ เช่น Velw Point Koh Tao เป็นต้น พร้อมบรรยายถึงเหตุผล เพราะอะไร อย่างไร
ห้องที่ 9 แสดงภาพพจน์ด้านการพัฒนาสิ่งแวดล้อมบนเกาะที่เกิดขึ้นอยู่ขณะนี้ อาทิ การกำจัดขยะ และยกตัวอย่างการดัดแปลงขยะ,สิ่งที่ไม่ใช้ ให้เป็นประโยชน์อีกครั้ง ห้องสุดท้าย ห้องสรุปการนำเสนอนิทรรศการในห้องต่างๆโดยสรุปออกมาในรูปแบบของเสียงสะท้อน ความเห็น ข้อคิด บทความ การปลูกฝังจิตใต้สำนึก ความห่วงแหนดูแลรักษาธรรมชาติ ช่วยกันใช้อย่างเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม อันเป็นแนวทางแห่งความสมัครสมานสามัคคี รักชาติ รักแผ่นดินที่อยู่อาศัย สอดแทรกสุภาษิต เรียงความ ธรรมชาติให้อะไรเรา ธรรมชาติที่เกื้อหนุนกันเปรียบเสมือน การมีน้ำใจไมตรีของคนในชาติ ความโลภของมนุษย์ คือจุดจบของธรรมชาติอย่างไร ผลของพืชคือความเอื้อเฟื้อที่ธรรมชาติ มอบให้กับเรา เช่นนั้นหรือไม่ เป็นต้น
คณะกรรมการ
โครงการ สดุดีเจ้าฟ้า เพื่อเทิดพระเกียรติ
มอบเพื่อหาลือ พิจารณาแก้ไข และเพิ่มเติม
คณะกรรมการ
โครงการ สดุดีเจ้าฟ้า เพื่อเทิดพระเกียรติ
มอบเพื่อหาลือ พิจารณาแก้ไข และเพิ่มเติม