"เพชรน้ำงาม สี่แผ่นดิน" 1
พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ( เครือแก้ว อภัยวงศ์ , บุนนาค )
มีพระประสูติกาล
สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี
พระราชธิดา เพียงหนึ่งเดียวใน
พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้า เจ้าอยู่หัว พระมหาธีราชเจ้า รัชกาลที่ 6
ณ พระที่นั่ง เทพสถานพิลาส ในพระบรมมหาราชวัง
ของวันอังคาร ที่ 24 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2468
พร้อมกันนี้
สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอฯ ทรงพระญาติวงศ์ มีสายพระโลหิตในชั้นที่ 3 ของ
พระบาทสมเด็จพระ นโรดม สีหนุ ผู้เป็น สมเด็จพระบรมราชบิดา ของ
พระบาทสมเด็จพระ นโรดม สีหมุนี
พระเจ้าแผ่นดิน องค์ปัจจุบัน แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา ราชวงศ์ นโรดม ด้วย
เมื่อครั้งก่อนที่ พระนางเจ้าสุวัทนาฯ จะมีพระสูติกาลนั้น
สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า รัชกาลที่ 6
ทรงพระราชนิพนธ์ บทกล่อมบรรทม สำหรับพระราชพิธีสมโภชเดือน
พระเอยพระหน่อนาถ
งามพิลาสดั่งดวงมณีใส
พระเสด็จจากฟากฟ้าสุราลัย
มาเพื่อให้ฝูงชนกมลปรีดิ์
ดอกเอยดอกจัมปาหอมชื่นจิตติ
ยิ่งดมยิ่งพาให้ดมเอยฯ
หอมพระเดชทรงยศโอรสราชแผ่เผ
พึ่งเดชพระหน่อไทเป็นสุขสมใ
รูปละม้ายคล้ายพระบิตุราชผิ
ขอพระจงทรงคุณวิบุลย์ทวี
เพื่อเป็นที่ร่มเกล้าข้าเฝ้
ดอกเอยดอกพุทธิชาตหอมเย็นใจ
หอมบมิขาดสุคนธ์เอยฯ
หอมพระคุณการุณเป็นประถมเย็
เหล่าข้าทูลละอองภักดีสนองพ
ในขณะเดียวกัน
ได้มีการตั้งพระนามเพื่อทูล
" สมเด็จเจ้าฟ้า"เพชรรัตนราชอ
สมเด็จเจ้าฟ้า"เพชรรัตนจุฬิ
สมเด็จเจ้าฟ้า"เพชรรัตนราชส
"เพชรน้ำงาม สี่แผ่นดิน" 2
ครั้นเมื่อถึงเวลาประสูตกาล
ซึ่งเป็นเวลาเดียวกันกับที่
สมเด็จพระมหาธีราชเจ้า ล้นเกล้า รัชกาลที่ 6
ทรงพระประชวรอยู่หนักมาก
ในเวลาบ่าย
ของวันที่ 24 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2468 นั้นเอง
เจ้าพระยา รามรฆาพ
หรือ
หม่อมหลวง เฟื้อ พึ่งบุญ
ได้เข้าเฝ้าทูลละอองธุรีพระ บาท
กราบถวายบังคมทูลว่า
พระนางเจ้าสุวัทนาฯ ทรงมีพระประสูติกาล สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ
ล้นเกล้า รัชกาลที่ 6 ซึ่งทรงพระบรรมทมด้วยอาการป ระชวรอยู่นั้น
ก็ทรงมีพระราชดำรัสว่า
ก็ดีเหมือนกัน
ต่อมา ในวันที่ 25 พฤศจิกายน 2468
เจ้าพระยารามราฆพ จึงเชิญเสด็จพระราชธิดาพระอ งค์น้อย
เข้าเฝ้าฯ สมเด็จพระบรมชนกนาถ รัชกาลที่ 6
เมื่อทรงทอดพระเนตรเห็นพระร าชธิดา
จึงทรงพยายาม ยกพระหัตถ์ขึ้น สัมผัสพระราชธิดาองค์น้อย แต่ก็มิสามารถกระทำได้ ด้วยพระวรกายอ่อนแรงนัก
เจ้าพระยาราฆพ จึงอัญเชิญพระหัตถ์ขึ้นสัมผ ัสพระราชธิดา
คราวเมื่อ เจ้าพระยารามราฆพ จะอัญเชิญ พระราชธิดา เสด็จกลับ
ล้นเกล้า รัชกาลที่ 6 ผู้พระราชบิดา
ทรงพยายามโบกพระหัตถ์แห่งพร ะองค์ ด้วยประสงค์จะทอดพระเนตรพระ ราชธิดาผู้เป็นที่รักยิ่ง อีกครั้ง เป็นครั้งที่ 2 และ ครั้งสุดท้ายแห่งพระชนม์ชีพ
ซึ่งกลางดึกในคืนวันนั้นเอง
พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ก็เสด็จ สวรรคต คืนสู่ สุขาวดีพิมานชั้นฟ้า
เป็นที่น่าเศล้าสลดยิ่ง
พระราชธิดาพระองค์นั้น ก็มิได้แม้แต่จะมีโอกาส สวมกอดพระผู้เป็นพระราชบิดา อีกเลย
ครั้นเมื่อถึงเวลาประสูตกาล
ซึ่งเป็นเวลาเดียวกันกับที่
สมเด็จพระมหาธีราชเจ้า ล้นเกล้า รัชกาลที่ 6
ทรงพระประชวรอยู่หนักมาก
ในเวลาบ่าย
ของวันที่ 24 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2468 นั้นเอง
เจ้าพระยา รามรฆาพ
หรือ
หม่อมหลวง เฟื้อ พึ่งบุญ
ได้เข้าเฝ้าทูลละอองธุรีพระ
กราบถวายบังคมทูลว่า
พระนางเจ้าสุวัทนาฯ ทรงมีพระประสูติกาล สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ
ล้นเกล้า รัชกาลที่ 6 ซึ่งทรงพระบรรมทมด้วยอาการป
ก็ทรงมีพระราชดำรัสว่า
ก็ดีเหมือนกัน
ต่อมา ในวันที่ 25 พฤศจิกายน 2468
เจ้าพระยารามราฆพ จึงเชิญเสด็จพระราชธิดาพระอ
เข้าเฝ้าฯ สมเด็จพระบรมชนกนาถ รัชกาลที่ 6
เมื่อทรงทอดพระเนตรเห็นพระร
จึงทรงพยายาม ยกพระหัตถ์ขึ้น สัมผัสพระราชธิดาองค์น้อย แต่ก็มิสามารถกระทำได้ ด้วยพระวรกายอ่อนแรงนัก
เจ้าพระยาราฆพ จึงอัญเชิญพระหัตถ์ขึ้นสัมผ
คราวเมื่อ เจ้าพระยารามราฆพ จะอัญเชิญ พระราชธิดา เสด็จกลับ
ล้นเกล้า รัชกาลที่ 6 ผู้พระราชบิดา
ทรงพยายามโบกพระหัตถ์แห่งพร
ซึ่งกลางดึกในคืนวันนั้นเอง
พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ก็เสด็จ สวรรคต คืนสู่ สุขาวดีพิมานชั้นฟ้า
เป็นที่น่าเศล้าสลดยิ่ง
พระราชธิดาพระองค์นั้น ก็มิได้แม้แต่จะมีโอกาส สวมกอดพระผู้เป็นพระราชบิดา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงพระอนุสรณ์คำนึงถึง
สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้า เพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี
พระราชธิดาพระองค์เดียว ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้
ทรงเป็น กุลเชษฐ์ แห่งพระบรมราชวงศ์ ทรงเป็นที่เคารพนับถือในหมู
เมื่อ สิ้นพระชนม์ ในวันพุธที่ 27 กรกฎาคม พุทธศักราช 2554
เป็นเหตุให้ ทรงเศร้า สลดพระราชหฤทัย และเป็นที่ โศกาลัย ของประชาชนทุกหมู่เหล่า
ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปร
ประดิษฐาน พระศพไว้ ณ พระที่นั่ง ดุสิตมหาปราสาท และทรงบำเพ็ญกุศล พระราชทานเป็นลำดับมาตามโบร
การพระศพ 2
ภายในพระที่นั่ง ดุสิตมหาปราสาท มุขด้านทิศตะวันตก
เป็นที่ประดิษฐานพระศพ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สริโสภาพัณณวดี
ภายใต้ เบญจปฎ เศวตฉัตร ( ฉัตรขาว 5 ชั้น ) ตามพระอิสริยยศ สมเด็จเจ้าฟ้า
พระโกศ ที่ทรงพระศพนั้น
คือ พระโกศทองใหญ่ องค์ที่สร้างขึ้นในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
ทั้งนี้การประดับพระโกศนั้น
คราวนี้
พระราชทาน เครื่องประดับ พระโกศ ครบทุกอย่างเป็นกรณีพิเศษ
ที่เรียก พุ่มดอกไม้เพชร นั้น
ประดับที่ยอดพระโกศ
ถัดลงมา
ที่กระจังฝาพระโกศ ประดับ ดอกไม้เพชร เรียกว่า
ดอกไม้ไหว ( ใบปรือ )
ที่ปากพระโกศ โดยรอบ ห้อยเฟื้องเพชร มีพู่ห้อย เป็นระยะ ทุกมุม ทั้ง8มุม
ที่เอวพระโกศ
ประดับดอกไม้เพชร เรียก
ดอกไม้เอว